การต่อลงดินของระบบไฟฟ้า มีกี่แบบ
มาตรฐาน IEC 60364-3 ได้แบ่งการต่อลงดินของระบบไฟฟ้าด้วยตัวอักษร 2 ตัว
อักษรตำแหน่งที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ ของระบบจ่ายไฟฟ้า กับการต่อลงดิน ดังนี้
T หมายถึง การต่อระบบไฟฟ้า หรือส่วนที่มีไฟ ต่อลงดินโดยตรง
I หมายถึง การต่อระบบไฟฟ้า หรือส่วนที่มีไฟ แยกจากดินโดยตรง หรือต่อลงดินผ่านตัวความต้านทาน หรือ อิมพีแดนซ์ (Impedance)
อักษรตำแหน่งที่ 2 แสดงความสัมพันธ์ ของตัวนำที่ปกติไม่มีไฟ หรือที่เรียกว่าตัวนำที่เปิดโล่ง เช่น โครงสร้างที่เป็นเหล็กของอุปกรณ์ไฟฟ้า กับการต่อลงดิน ดังนี้
T หมายถึง การต่อลงดินโดยตรงของโครงสร้างที่เป็นเหล็กของอุปกรณ์ไฟฟ้า และหลักดินแยกต่างหากจากหลักดินของระบบไฟฟ้า
N หมายถึง การต่อลงดินของโครงสร้างที่เป็นเหล็กของอุปกรณ์ไฟฟ้า โดยต่อรวมกับหลักดินของระบบไฟฟ้า
อักษรตำแหน่งที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ ของระบบจ่ายไฟฟ้า กับการต่อลงดิน ดังนี้
T หมายถึง การต่อระบบไฟฟ้า หรือส่วนที่มีไฟ ต่อลงดินโดยตรง
I หมายถึง การต่อระบบไฟฟ้า หรือส่วนที่มีไฟ แยกจากดินโดยตรง หรือต่อลงดินผ่านตัวความต้านทาน หรือ อิมพีแดนซ์ (Impedance)
อักษรตำแหน่งที่ 2 แสดงความสัมพันธ์ ของตัวนำที่ปกติไม่มีไฟ หรือที่เรียกว่าตัวนำที่เปิดโล่ง เช่น โครงสร้างที่เป็นเหล็กของอุปกรณ์ไฟฟ้า กับการต่อลงดิน ดังนี้
T หมายถึง การต่อลงดินโดยตรงของโครงสร้างที่เป็นเหล็กของอุปกรณ์ไฟฟ้า และหลักดินแยกต่างหากจากหลักดินของระบบไฟฟ้า
N หมายถึง การต่อลงดินของโครงสร้างที่เป็นเหล็กของอุปกรณ์ไฟฟ้า โดยต่อรวมกับหลักดินของระบบไฟฟ้า
TN-C-S เป็นระบบที่ผสมระหว่าง TN-C และ TN-S เข้าด้วยกัน คือ ระหว่างหม้อแปลงถึงตู้ประธานหลัก สายนิวทรัล และสายดิน จะใช้สายตัวนำเส้นเดียวร่วมกัน
ตั้งแต่ตู้ประธานหลัก สายนิวทรัล และสายดิน จะแยกตัวนำกันตลอดทั้งระบบ แต่จะมีการต่อถึงกันที่ บัสบาร์ นิวทรัล (N) และ กราวด์ (G) ที่ตู้ประธานของระบบ (MDB)
ตั้งแต่ตู้ประธานหลัก สายนิวทรัล และสายดิน จะแยกตัวนำกันตลอดทั้งระบบ แต่จะมีการต่อถึงกันที่ บัสบาร์ นิวทรัล (N) และ กราวด์ (G) ที่ตู้ประธานของระบบ (MDB)
0 comments:
แสดงความคิดเห็น